สูตรการคำนวณตำแหน่งดาวเคราะห์แบบดาราศาสตร์
:
เสาร์
ฟังก์ชั่น
saturn
คือฟังก์ชั่น VBA บน
Excel ใช้ในการหาค่าตำแหน่งดาวเสาร์แบบดาราศาสตร์สากล
หรือระบบสายนะวิธี มีตัวแปรที่รับเข้าดังต่อไปนี้
day = วันที่
month = เดือน
year = ปี
ค.ศ.
hr = ชั่วโมง
mn = นาที
และฟังก์ชั่นเสริมที่ใช้ประกอบการคำนวณคือ
Modulo
, Atan2 , Asin , Acos (ดูรายละเอียดฟังก์ชั่นเสริมได้ที่การคำนวณดาวพุธ)
สูตรการคำนวณมีดังนี้
Function
saturn(day, month, year, hr, mn As Double) As Double
Dim
dj2000, days, Ma, Ta, L, RV As Double
dj2000
= 367 * year - Int(7 * (year + Int((month + 9) / 12)) / 4) + Int(275 * month /
9) + day - 730531.5 + ((hr + (mn / 60)) / 24)
days
= dj2000 + 864.5
'องค์ประกอบของดาวเคราะห์
Ma
= modulo(0.00058096 * days + 0.365778949 - 1.550951933, 6.283185307)
Ta
= Ma + (2 * 0.0531651 - 0.0531651 ^ 3 / 4 + 5 / 96 * 0.0531651 ^ 5) * Sin(Ma) +
(5 * 0.0531651 ^ 2 / 4 - 11 / 24 * 0.0531651 ^ 4) * Sin(2 * Ma) + (13 *
0.0531651 ^ 3 / 12 - 43 / 64 * 0.0531651 ^ 5) * Sin(3 * Ma) + 103 / 96 *
0.0531651 ^ 4 * Sin(4 * Ma) + 1097 / 960 * 0.0531651 ^ 5 * Sin(5 * Ma)
L
= modulo(Ta + 1.550951933, 6.283185307)
RV
= 9.5719 * (1 - 0.0531651 ^ 2) / (1 + 0.0531651 * Cos(Ta))
'องค์ประกอบของโลก
Dim
Mae, Tae, Le, RVe, Hlong, Hlat, Dis, lambda, beta, alpha, delta As Double
Mae
= modulo(0.017201609 * days + 5.731722874 - 1.795100806, 6.283185307) 'Mean anomaly
Tae
= Mae + (2 * 0.0166967 - 0.0166967 ^ 3 / 4) * Sin(Mae) + 5 * 0.0166967 ^ 2 / 4
* Sin(2 * Mae) + 13 * 0.0166967 ^ 3 / 12 * Sin(3 * Mae)
Le
= modulo(Tae + 1.795100806, 6.283185307)
RVe
= 1 * (1 - 0.0166967 ^ 2) / (1 + 0.0166967 * Cos(Tae))
'มุมมอง Helio
Hlong
= Atan2(Cos(L - 1.983318858), Sin(L - 1.983318858) * Cos(0.043375621)) +
1.983318858
Hlat
= Asin(Sin(L - 1.983318858) * Sin(0.043375621))
Dis
= RV * Cos(Hlat)
'ผลลัพธ์
lambda
= modulo(Atn(RVe * Sin(Hlong - Le) / (Dis - RVe * Cos(Hlong - Le))) + Hlong,
6.283185307)
saturn
= lambda * (180 / 3.141592654)
End
Function
ตัวอย่างการคำนวณ 1 พฤษภาคม 2016 เวลา 12.00
น.(กรีนิช)
รูปแบบสูตร saturn(1,5,2016,12,0)
ค่าที่ได้คือ 253.4010088
องศา
(เปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากโมดูล swiss คือ 255.328971878002 ต่างกันอยู่ 1.927963078 องศา)
ในกรณีที่จะทำเป็นค่าตำแหน่งดาวในระบบนิรายนะวิธี
ให้นำค่าอายนางศมาลบออกจากค่าที่คำนวณได้
กรณีนี้ใช้ค่าอายนางศแบบลาหิรีที่คำนวณได้ในวันเวลาตามตัวอย่าง คือ
24.0852731799126
ตำแหน่งดาวเสาร์(นิรายนะวิธี) 253.4010088 - 24.0852731799126 = 229.3157356
1.ราศี 229.3157356
หาร 30 ลัพธ์เป็นราศี = 7
2.องศา
จำนวนเต็มของเศษจากการหาร = 19.31573562 = 19
3.ลิปดา
ทศนิยมที่เหลือคูณด้วย 60 = 0.31573562 X 60 = 18.94413721
= 18
4.ฟิลิปดา
ทศนิยมที่เหลือในข้อ 3. คูณด้วย 60 = 0.94413721 X 60 = 56.64823231= 56
สรุป ตำแหน่งดาวเสาร์(นิรายนะ)
=
ราศีพิจิก 19 องศา 18 ลิปดา 56 ฟิลิปดา
เปรียบเทียบผลกับโมดูล
swiss
คือ ราศีพิจิก 21 องศา 14 ลิปดา 37 ฟิลิปดา ต่างกันอยู่ 1 องศา 55
ลิปดา 41 ฟิลิปดา
ธีรพร
เพชรกำแพง
2 พฤษภาคม 2559
(ต้องการขอรับไฟล์งาน Excel ติดต่อได้ที่ tepar2009@gmail.com)